พระกรุวัดตะไกร พิมพ์หน้าฤาษี เนื้อดิน ปี2470 พระนครศรีอยุธยา

           พระวัดตะไกร จัดเป็นพระเนื้อดินยอดนิยมของพระนครศรีอยุธยา กำเนิดขึ้นครั้งแรกที่วัดตะไกร ปัจจุบันร้างไปนานแล้ว แตกกรุออกมาด้วยกัน 3 พิมพ์ คือ

1.พิมพ์หน้าครุฑ

2.พิมพ์หน้าฤๅษี

3.พิมพ์หน้ามงคล

            มีทั้งชนิดเนื้อชินและเนื้อดินแต่ที่นิยมก็คือเนื้อดิน เพราะมีมากกว่านั่นเอง บางองค์มีการลงรักปิดทองมาจากกรุก็มี

พุทธลักษณะเป็นองค์พระประธานประทับนั่ง แสดงปางมารวิชัย พระวัดตะไกรที่ก้นจะมีรู เข้าใจว่าจะใช้ไม้เสียบ เพื่อนำเอาพระออกจากพิมพ์ แต่ถ้าเป็นเนื้อชินจะไม่มีต่อมาเมื่อประมาณปี พ.ศ.2528 ก็มีผู้ค้นพบอีกแต่จำนวนไม่มากและครั้งสุดท้ายเมื่อปี พ.ศ.2539 ก็มีผู้ค้นพบอีก พระวัดตะไกรเป็นพระที่มีชื่อเสียงโด่งดังในด้านพุทธคุณมาตั้งแต่โบราณ

พุทธคุณยอดเยี่ยมทางด้านแคล้วคลาด และคงกระพันชาตรี

ขอขอบคุณข้อมูลบางส่วนจาก Google.

Visitors: 341,954